Blog
- All
- Cybersecurity-news
- Securityawareness
- PDPA Awareness Series
10 สิ่งที่ทำให้ Cybersecurity Awareness ในองค์กรไม่มีประสิทธิภาพ
ทำไม Cybersecurity Awareness จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับองค์กร การตระหนักรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางไซเบอร์ หรือ Cybersecurity Awareness ในองค์กรมีความสำคัญเนื่องจากช่วยปกป้องบุคคลและองค์กรจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ เช่น มัลแวร์ การโจมตีแบบฟิชชิง
PDPA awareness Training ทำเอง หรือจ้างดีกว่า ?
เมื่อคุณเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำ PDPA Awareness ในระดับหนึ่งแล้ว ตอนนี้คุณอาจกำลังวางแผน จัดทำ PDPA awareness training ให้กับพนักงานในองค์กรของคุณ แต่อย่างที่เราบอกไปในบทความ “สร้าง
ทำ PDPA Awareness ในองค์กรอย่างไรให้ปัง
เมื่อพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเริ่มบังคับใช้และกำหนดให้องค์กรที่มีกิจกรรมเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของคนไทย ต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Security) ซึ่งก็คือการ ทำ PDPA Awareness สำหรับพนักงานในองค์กร การสร้างความตระหนักรู้ด้านกฎหมาย
PDPA Awareness for employees คืออะไร?
แนวคิด PDPA for employees คือการสร้างความตระหนักรู้ด้านกฎหมาย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA Awareness) และ ความตระหนักรู้ด้านภัยไซเบอร์ (Cyber Security
ทำ PDPA Security Awareness มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง ?!
หลายท่านคงเห็นความสำคัญของการทำ PDPA Security Awareness กันไปบ้างแล้วในรูปแบบของ 3 สิ่งแห่งการป้องกันภัยจากไซเบอร์อย่าง Technology ระบบที่ช่วยดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลส่วนบุคคลที่ทางองค์กรเก็บไว้, Process กระบวนการรวมตั้งแต่ แบบแผน
รู้จัก PDPA Awareness และ Security Awareness
ในปีพ.ศ. 2565 นี้ สังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมแห่งความปลอดภัยทางด้านไซเบอร์มากขึ้น ด้วยการบังคับใช้กฎหมาย PDPA (พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล) ควบคู่กับกฎหมายไซเบอร์ที่มีมาก่อนหน้านี้อย่าง พ.ร.บ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562

10 สิ่งที่ทำให้ Cybersecurity Awareness ในองค์กรไม่มีประสิทธิภาพ
ทำไม Cybersecurity Awareness จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับองค์กร การตระหนักรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางไซเบอร์ หรือ Cybersecurity Awareness ในองค์กรมีความสำคัญเนื่องจากช่วยปกป้องบุคคลและองค์กรจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ เช่น มัลแวร์ การโจมตีแบบฟิชชิง และข้อมูลรั่วไหล ซึ่งภัยคุกคามเหล่านี้อาจส่งผลร้ายแรง รวมถึงการสูญเสียทางการเงิน ความเสียหายต่อชื่อเสียง และการสูญเสียข้อมูลส่วนบุคคลหรือข้อมูลธุรกิจที่ละเอียดอ่อน องค์กรสามารถลดความเสี่ยงที่จะตกเป็นเหยื่อของภัยคุกคามเหล่านี้ได้ด้วยการตระหนักรู้และปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ดี ซึ่งหากองค์กรมีการวางแผนการตระหนักถึงความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ที่มีประสิทธิภาพต้องระมัดระวังไม่ทำ 10

PDPA Awareness for employees Webinar
WEBINAR PDPA Awareness for employees สร้างความตระหนักรู้ด้านความปลอดภัยข้อมูล และ PDPA ให้กับพนักงานในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ on demand WATCH NOW Brought to you by : รู้หรือไม่ครับว่า พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

PDPA awareness Training ทำเอง หรือจ้างดีกว่า ?
เมื่อคุณเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำ PDPA Awareness ในระดับหนึ่งแล้ว ตอนนี้คุณอาจกำลังวางแผน จัดทำ PDPA awareness training ให้กับพนักงานในองค์กรของคุณ แต่อย่างที่เราบอกไปในบทความ “สร้าง PDPA Awareness ในองค์กรอย่างไรให้ปัง” ว่าการทำ PDPA Awareness ให้ได้ผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด ต้องใช้เวลาและการย้ำเตือนอย่างสม่ำเสมอ

ทำ PDPA Awareness ในองค์กรอย่างไรให้ปัง
เมื่อพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเริ่มบังคับใช้และกำหนดให้องค์กรที่มีกิจกรรมเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของคนไทย ต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Security) ซึ่งก็คือการ ทำ PDPA Awareness สำหรับพนักงานในองค์กร การสร้างความตระหนักรู้ด้านกฎหมาย PDPA เป็นเรื่องสำคัญที่องค์กรจำเป็นต้องทำ และมุ่งเน้นสื่อสารให้พนักงานทราบถึง บทบาทหน้าที่ด้านความปลอดภัยที่องค์กรต้องปฏิบัติตามกฎหมาย รวมไปถึงความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นกับข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรเก็บรวบรวมไว้ อ่านข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความตระหนักรู้ทางด้านข้อมูลส่วนบุคคลในองค์กรเพิ่มเติมที่ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

PDPA Awareness for employees คืออะไร?
แนวคิด PDPA for employees คือการสร้างความตระหนักรู้ด้านกฎหมาย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA Awareness) และ ความตระหนักรู้ด้านภัยไซเบอร์ (Cyber Security Awareness) ให้พนักงานในองค์กรของเรา ปัจจุบันหลากหลายองค์กรมีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบดิจิทัลไฟล์อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือในระบบคลาวน์ออนไลน์ทั้งข้อมูลที่ได้รับมาจากพนักงานภายใน หรือภายนอกจากลูกค้า หรือคู่ค้าธุรกิจ ดังนั้นต้องมีการรักษาความปลอดภัยในทุกกระบวนการจัดเก็บ และใช้ข้อมูลส่วนบุคคล การสร้าง

ทำ PDPA Security Awareness มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง ?!
หลายท่านคงเห็นความสำคัญของการทำ PDPA Security Awareness กันไปบ้างแล้วในรูปแบบของ 3 สิ่งแห่งการป้องกันภัยจากไซเบอร์อย่าง Technology ระบบที่ช่วยดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลส่วนบุคคลที่ทางองค์กรเก็บไว้, Process กระบวนการรวมตั้งแต่ แบบแผน นโยบาย วิธีป้องกันภัยอันตรายจากไซเบอร์ และการรับมือกับความเสี่ยงเมื่อมีผู้บุกรุกทางไซเบอร์ รวมถึง People พนักงานในองค์กรต้องเข้าใจในเรื่องภัยของไซเบอร์ และเห็นความสำคัญของข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อรักษาทรัพยากรอันล้ำค่าของบริษัทที่สั่งสมน้ำพักน้ำแรงของทุกฝ่ายในบริษัทอย่างข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งทั้ง

รู้จัก PDPA Awareness และ Security Awareness
ในปีพ.ศ. 2565 นี้ สังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมแห่งความปลอดภัยทางด้านไซเบอร์มากขึ้น ด้วยการบังคับใช้กฎหมาย PDPA (พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล) ควบคู่กับกฎหมายไซเบอร์ที่มีมาก่อนหน้านี้อย่าง พ.ร.บ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ซึ่งกฎหมายทั้งสองก่อให้เกิด PDPA Awareness และ Security Awareness ซึ่งจะมีความสำคัญต่อองค์กรอย่างไรนั้น วันนี้เราจะพาทุกท่านมาหาคำตอบกันในบทความนี้

เราเตรียมรับมือกับข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหลแล้วหรือยัง?
หากเกิดเหตุข้อมูลส่วนบุคคลของเราที่อยู่บนระบบฐานข้อมูลเว็ปไซต์ที่เราใช้บริการเกิดถูกแฮก ข้อมูลรั่วไหลออกไปเราจะวิธีการลดความเสียหายได้อย่างไร

เจาะลึกวิธีจับผิดฟิชชิงอีเมล (phishing email)
การส่งฟิชชิงอีเมล (phishing email) เป็นเหมือนอีกวิชาจิตวิทยา เพราะอาชญากรไซเบอร์จะพยายามสร้างหัวข้อ และเนื้อหาอีเมลที่มีผลต่อความรู้สึก กระตุกต่อมความกลัว ความตื่นเต้น ความอยากรู้อยากเห็น หรือความอยากได้อยากมีของคุณ เพื่อทำให้คุณหลงเชื่อและตกเป็นเหยื่อ

Business Email Compromise (BEC) การก่ออาชญากรรมทางอีเมลที่พุ่งเป้าพนักงานในองค์กรเป็นหลัก
ไปรู้จักกับ BEC กลวิธีหลอกหลวงทางอีเมลที่แยบยล ทำให้องค์กรคุณเสียหายหนัก กว่าการ Phishing ทั่วไป เพราะพนักงานในองค์กรของคุณอาจไม่รู้ว่าผู้ส่งอีเมลนั้นคือ ” ผู้บริหาร หรือลูกค้า รายใหญ่ขององค์กรตัวจริงหรือไม่ ” และตกเป็นเหยื่อในที่สุดได้

สร้าง Cybersecurity Awareness อย่างไรให้ผ่าน พ.ร.บ. ไซเบอร์
Cybersecurity Awareness หรือการตระหนักรู้ด้านความปลอดภัยไซเบอร์ ทำอย่างไรจึงจะผ่านกฎหมาย พ.ร.บ. ไซเบอร์ ประโยชน์คืออะไร ? ที่นี่มีคำตอบ

“ซอฟต์แวร์ล้าสมัย” อันตรายอย่างไร
ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ มักสร้างซอฟต์แวร์ หรือชุดคำสั่งที่สามารถตอบโจทย์การใช้งานของผู้คนทั่วไป แต่เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไป เทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ผู้พัฒนาก็ต้องอัปเกรดเพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน การประมวลผล เพิ่มเติมโซลูชันใหม่ ๆ เข้าไปเพื่อให้ซอฟต์แวร์ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งานมากขึ้น ขณะเดียวกัน

Ransomware ภัยเงียบที่รุนแรงขึ้นทุกวัน! แล้วองค์กรต้องป้องกันอย่างไร
การโจมตีสร้างความเสียหายของ Ransomware หรือมัลแวร์เรียกค่าไถ่ ยังคงเกิดขึ้นและมีแนวโน้มที่จะโจมตีสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่ในปี 2563 ที่ผ่านมามัลแวร์เรียกค่าไถ่ได้สร้างความเสียหายให้กับกลุ่มประเทศอาเซียนสูงถึง 2.7 ล้านครั้ง และประเทศไทยติดท็อปอันดับ 3 จาก 10 ประเทศอาเซียน

ภัยคุกคามทางไซเบอร์ 2021 สิ่งที่องค์กรต้องระวัง เมื่อพนักงาน Work From Home
ในปี 2021การทำงานแบบ Work From Home กลับมีสถิติภัยคุกคามทางไซเบอร์ เพิ่มสูงขึ้น เมื่อกิจกรรมหลักของพนักงานอยู่บนโลกออนไลน์ องค์กรต้องป้องกัน

Security Awareness คืออะไร ทำไมทุกองค์กรควรทำ
Security awareness คือ รากฐานสำคัญแห่งการสร้างความปลอดภัยภายในองค์กร พร้อมเหตุผลที่ควรทำและประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับ ไขคำตอบทุกข้อสงสัยในบทความเดียว